0 of 18 แบบสอบถาม สำเร็จแล้ว
แบบสอบถาม:
คุณจะต้องทำแบบทบทวน แบบทบทวน ก่อนหน้าให้สำเร็จก่อน. มิฉะนั้นจะไม่สามารถเริ่มบทเรียนนี้ได้.
แบบทบทวน กำลังประมวลผล…
คุณจะต้องลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบก่อนการใช้งาน แบบทบทวน.
คุณจะต้องสำเร็จก่อนถึงจะดำเนินการต่อไป:
0 of 18 แบบสอบถาม คำตอบที่ถูกต้อง
เวลาที่ใช้ :
หมดเวลาการทำแบบทบทวน
คุณได้คะแนน 0 ของทั้งหมด 0 คะแนน, เปอร์เซนต์ที่ได้(0)
คะแนนสะสม: 0 of 0, (0)
0 Essay(s) Pending (Possible Point(s): 0)
คะแนนเฉลี่ย |
|
คะแนนของคุณ |
|
ที่ | ชื่อ | ถูกเปิดใช้ | คะแนน | ผลลัพธ์ |
---|---|---|---|---|
กำลังดาวน์โหลดตาราง… | ||||
ไม่มีข้อมูล | ||||
2. สุขภาพจิต คือ จิตใจในสภาวะต่างๆ
3. พฤติกรรมย้ำคิดย้ำทำ จะค่อยๆดีขึ้นเมื่อได้ทำพฤติกรรมซ้ำๆ
4. บุคลิกภาพชนิดหลงตัวเอง จะมีความเชื่อมั่นในตนเองสูง จึงไม่สนใจบุคคลรอบข้าง
5. เมื่อหยุดสูบบุหรี่ อาจก่อให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ หนาวสั่นได้
6. การช่วยควบคุมเรื่องการใช้จ่ายและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่ออันตราย เป็นหนึ่งในวิธีการดูแลผู้ป่วยอารมณ์สองขั้วที่มีอารมณ์ครื้นเครงผิดปกติ
7. อาการประสาทหลอน คือ อาการที่มีความเชื่อเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยไม่เป็นไปตามหลักความจริง
8. การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ หมายถึง การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหรือช่องทางเพื่อก่อให้เกิดการกลั่นแกล้ง
9. สุขภาพเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จะนําบุคคลไปสู่ความสุขและความสำเร็จต่างๆ ในชีวิต
10. หลักสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียงมี 3 ประการ ได้แก่ หลักการด้านความรู้ หลักการด้านคุณธรรม และหลักการมีภูมิคุ้มกัน
11. การตระหนักรู้ในตนเอง คือ ความสามารถในการมองเห็นตัวเองและตระหนักถึงสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้อย่างชัดเจน
13. การตอบสนองต่อปัญหาจิตใจและอารมณ์ในแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันออกไปตามพื้นฐานบุคลิกภาพ การเตรียมตัวและการฝึกฝนให้เผชิญกับปัญหา
14. การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง เมื่อทำพฤติกรรมหรือมีความคิดอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่เหมาะสม เป็นหนึ่งในกลไกการป้องกันทางจิตของบุคคล
15. การยอมรับและยินยอมให้ตนเองอยู่กับความรู้สึกเศร้าเป็นวิธีการเผชิญกับความสูญเสียที่ไม่เหมาะสม
16. การพัฒนาเครือข่ายทางสังคมจะช่วยให้บุคคลรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ดีขึ้น
17. การมีภูมิคุ้มกัน คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นไปอนาคต
18. ปัญหาทางสุขภาพจิตหากเกิดขึ้นแล้ว สามารถแก้ไขและปรับตัวด้วยตนเองได้ ไม่จำเป็นต้องไปพบแพทย์
19. ระยะของความสูญเสียมี 5 ระยะ
20. การรักษาด้านจิตใจในผู้ป่วยจิตเวช ได้แก่ การให้คำปรึกษา การทำกลุ่มบำบัด การจัดสิ่งแวดล้อม