0 of 20 แบบสอบถาม สำเร็จแล้ว
แบบสอบถาม:
คุณจะต้องทำแบบทบทวน แบบทบทวน ก่อนหน้าให้สำเร็จก่อน. มิฉะนั้นจะไม่สามารถเริ่มบทเรียนนี้ได้.
แบบทบทวน กำลังประมวลผล…
คุณจะต้องลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบก่อนการใช้งาน แบบทบทวน.
คุณจะต้องสำเร็จก่อนถึงจะดำเนินการต่อไป:
เวลาที่ใช้ :
หมดเวลาการทำแบบทบทวน
คุณได้คะแนน 0 ของทั้งหมด 0 คะแนน, เปอร์เซนต์ที่ได้(0)
คะแนนสะสม: 0 of 0, (0)
0 Essay(s) Pending (Possible Point(s): 0)
คะแนนเฉลี่ย |
|
คะแนนของคุณ |
|
ที่ | ชื่อ | ถูกเปิดใช้ | คะแนน | ผลลัพธ์ |
---|---|---|---|---|
กำลังดาวน์โหลดตาราง… | ||||
ไม่มีข้อมูล | ||||
1. ภาวะหมดไฟสามารถส่งผลกระทบทางลบต่อร่างกาย จิตใจ และการทำงานได้
2.สุขภาพจิต คือ จิตใจในสภาวะต่างๆ
3. การทำความคุ้นเคยกับความเปลี่ยนแปลงทำให้บุคคลไม่ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลง
4. ระยะปฏิเสธ เป็นระยะที่เกิดยาวนานที่สุดภายหลังเกิดความสูญเสีย
5. การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง เมื่อทำพฤติกรรมหรือมีความคิดอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่เหมาะสม เป็นหนึ่งในกลไกการป้องกันทางจิตของบุคคล
6. การตอบสนองต่อปัญหาจิตใจและอารมณ์ในแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันออกไปตามพื้นฐานบุคลิกภาพ การเตรียมตัวและการฝึกฝนให้เผชิญกับปัญหา
7. การมองโลกในแง่ดี มีข้อเสียคือ อาจทำให้ประเมินสถานการณ์ไว้ต่ำเกินไป อาจละเลยที่จะป้องกันหรือแก้ไข
8. การตระหนักรู้ในตนเอง คือ ความสามารถในการมองเห็นตัวเองและตระหนักถึงสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้อย่างชัดเจน
9. การหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เป็นความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับพื้นฐาน
10. ความพอประมาณ คือ ความพอดีที่ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
11. ความฉลาดทางดิจิทัล สามารถวัดได้จากแบบทดสอบ IQ
12. การมองโลกในแง่ร้าย ไม่มีผลเสียเนื่องจากทำให้เกิดการเฝ้าระวังในสิ่งที่กำลังคิดหรือทำอยู่
13. ภาวะอารมณ์สองขั้ว เป็นความผิดปกติทางอารมณ์ซึ่งจะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมาในระหว่างวัน
14. เมื่อผู้ติดสุราหยุดดื่มสุรา อาจก่อให้เกิดอาการชักได้
15. บุคลิกภาพชนิดต่อต้านสังคม จะมีพฤติกรรมแยกตัวไม่เข้าสังคม
16. องค์ประกอบที่มีผลต่อสุขภาพจิต มี 4 องค์ประกอบ
17. การเผชิญเหตุการณ์รุนแรงสามารถทำให้เกิด PTSD ได้
18. ความเข้มแข็งในการมองโลกประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ความสามารถในการทำความเข้าใจ ความสามารถในการจัดการ และความสามารถในการให้ความหมาย
19. ตัวตนตามการรับรู้ คือ ภาพของตนที่เห็น ว่าตนมีลักษณะเป็นคนอย่างไร
20. ปัญหาการงานสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตได้